Institute of Trade Strategies (สถาบันยุทธศาสตร์การค้า)

หอการค้าไทย

 

หน้าหลัก แนะนำสถาบัน

ความร่วมมือระหว่างประเทศ

การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย

บทความ ข้อมูลรายสินค้า
 
.

ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดย ดร. สุเมธ  ตันติเวชกุล

สรุปหลักแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียง

 
Trade Mission
ราชอาณาจักรบาห์เรน
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
รัฐสุลต่านโอมาน

ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย

วัฒนธรรมชาวอาหรับ

Do's and DON'Ts in Arabian Society

The Smiling Military Intervention

 

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

 

 

.

     หอการค้าและสมาคมการค้า

หอการค้าไทย
หอการค้าจังหวัด
หอการค้าต่างประเทศในไทย
หอการค้าทั่วโลก
สมาคมการค้า

     หน่วยงานราชการ

กระทรวง
องศ์กรอิสระ

   สถาบันการเงิน

ธนาคาร

    สถาบันการลงทุน

สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน BOI

   สื่อสิ่งพิมพ์

หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร

   สื่อออกอากาศ

สถานีโทรทัศน์
สถานีวิทยุ

ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค
ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์
ศูนย์ประชุมนานาชาติ BITEC

   เว็บไซต์อื่น ๆ

เอแบคโพลล์
สวนดุสิดโพลล์
     หอการค้าไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
     มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
     ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
     ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

     Thailand  development  Research  Institute (TDRI)

     มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย
     สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
     สำนักงานสถิติแห่งชาติ
     สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (สคพ.) หรือ International Institute for Trade and Development (ITD)
     World Trade Orgainzition (WTO)
     International Trade Centre (UNCTAD/WTO)
     United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD)

น้ำตาลปี’50 : ไทยก้าวสู่ประเทศผู้ส่งออกอันดับสองของโลก

 
               ปริมาณการส่งออกน้ำตาลของไทยในปี 2550 คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณ 4.4 ล้านตันเติบโตร้อยละ 100 เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งส่งออกได้ 2.2 ล้านตัน ทั้งนี้ปัจจัยดังกล่าวผลักดันให้ไทยกลับขึ้นมาเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำตาลรายใหญ่อันดับสองของโลกรองจากบราซิล (แทนที่ออสเตรเลียซึ่งได้เข้ามาเป็นผู้ส่งออกน้ำตาลรายใหญ่อันดับสองแทนไทย 2 ปีติดต่อกันนับตั้งแต่ปีการผลิต 2547/48 เป็นต้นมาและต่อเนื่องถึงปีการผลิต 2548/49) ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนับเป็นข่าวดีของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลซึ่งต้องพึ่งพาตลาดส่งออกเป็นแหล่งระบายผลผลิตส่วนเกินที่เหลือจากการบริโภคในประเทศถึงร้อยละ 65-70 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด การส่งออกน้ำตาลของไทยแม้ว่าจะเพิ่มขึ้นมาก แต่ก็ส่งผลดีต่อชาวไร่อ้อยไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยนัก ทั้งนี้เนื่องจากถูกบั่นทอนจากปัจจัยเสี่ยง 2 ประการไม่ว่าจะเป็นราคาน้ำตาลในตลาดโลกที่ตกต่ำทำให้มูลค่าการส่งออกน้ำตาลในปี 2550 อยู่ที่ระดับประมาณ 1,100 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.8 ในขณะเดียวกัน จากการที่เงินบาทของไทยแข็งค่าอย่างต่อเนื่องทำให้รายได้จากการส่งออกน้ำตาลในรูปเงินบาท ต่ำกว่าที่ควรจะเป็น ซึ่งถือเป็นการสูญเสียโอกาสในการสร้างรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลของไทยเป็นอย่างมาก

 

 

 

 

 

 

 

 

 
 

ย้อนกลับ:

 

ที่มา : มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 2004 

           วันที่ 22 มิถุนายน 2550

          บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด

 

 

 

 

หน้าหลัก    แนะนำสถาบัน    การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย    ข้อมูลรายสินค้า   แผนผังเว็บไซต์    ติดต่อสถาบัน    สำหรับเจ้าหน้าที่

 

สถาบันยุทธศาสตร์การค้า

อาคาร 20 ชั้น 5 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  ถนนวิภาวดีรังสิต  ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 02-692-3162-3 โทรสาร 02-692-3161

E-mail: [email protected]  

 Last updated: 28-Feb-2008.