Institute of Trade Strategies (สถาบันยุทธศาสตร์การค้า)

หอการค้าไทย

 

หน้าหลัก แนะนำสถาบัน

ความร่วมมือระหว่างประเทศ

การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย

บทความ ข้อมูลรายสินค้า
 
 

ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดย ดร. สุเมธ  ตันติเวชกุล

สรุปหลักแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียง

 
Trade Mission
ราชอาณาจักรบาห์เรน
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
รัฐสุลต่านโอมาน

ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย

วัฒนธรรมชาวอาหรับ

Do's and DON'Ts in Arabian Society

The Smiling Military Intervention

 

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

 

 

.

     หอการค้าและสมาคมการค้า

หอการค้าไทย
หอการค้าจังหวัด
หอการค้าต่างประเทศในไทย
หอการค้าทั่วโลก
สมาคมการค้า

     หน่วยงานราชการ

กระทรวง
องศ์กรอิสระ

   สถาบันการเงิน

 

ธนาคาร

    สถาบันการลงทุน

สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน BOI

   สื่อสิ่งพิมพ์

หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร

   สื่อออกอากาศ

สถานีโทรทัศน์
สถานีวิทยุ

ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค
ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์
ศูนย์ประชุมนานาชาติ BITEC

   เว็บไซต์อื่น ๆ

เอแบคโพลล์
สวนดุสิดโพลล์
     หอการค้าไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
     มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย    
     ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
    

     Thailand  development  Research  Institute (TDRI)

     มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย
     สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
     สำนักงานสถิติแห่งชาติ
     สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (สคพ.) หรือ International Institute for Trade and Development (ITD)
     World Trade Orgainzition (WTO)
     International Trade Centre (UNCTAD/WTO)
     United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD)

ค้าปลีกไตรมาสแรก 2550 : ต้องลุ้นหนัก...เพื่อช่วงชิงกำลังซื้อ

 

     

       าพรวมของธุรกิจค้าปลีกในไตรมาสแรกปี 2550 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าน่าจะเติบโตเพียงร้อยละ 2-5   หรือยังคงทรงตัวต่อเนื่องจากปีก่อน และชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับปี 2546-2548 ที่อัตราการเติบโตของค่าเฉลี่ยดัชนีมูลค่าค้าปลีกในไตรมาสแรกในช่วงเวลาดังกล่าวเป็นร้อยละ 15.71 ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยที่ส่งผลกระทบในด้านบวกต่อกำลังซื้อและพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยของผู้บริโภคยังไม่ชัดเจนมากนัก
      ในขณะที่ปัจจัยลบกลับมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบชัดเจนกว่า ไม่ว่าจะเป็นภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่มีแนวโน้มชะลอตัวลง สถานการณ์การเมืองที่ยังคงผันผวน หรือภาวะเศรษฐกิจของคู่ค้าหลักในตลาดโลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวลง เป็นต้น  ทำให้ผู้บริโภคน่าจะมีพฤติกรรมระมัดระวังการใช้จ่ายมากขึ้นในช่วงไตรมาสแรกปี 2550 ประกอบกับรูปแบบการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันที่เป็นไปในลักษณะที่ซับซ้อนขึ้น
   
      จึงมีความเป็นไปได้ว่า บรรยากาศการแข่งขันในช่วงไตรมาสแรกปี 2550 น่าจะทวีความเข้มข้นเมื่อเทียบกับปีก่อนเ และเต็มไปด้วยการชิงไหวชิงพริบในเชิงการแข่งขัน เพื่อช่วงชิงกำลังซื้อของผู้บริโภค และกระตุ้นบรรยากาศการจับจ่ายใช้สอยของผู้บริโภคให้คึกคักมากขึ้น และหวังผลต่อเนื่องให้ยอดขายเติบโตได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้  ทั้งในส่วนของการปรับปรุงสถานที่ การจัดมหกรรมลดราคาสินค้าในแต่ละประเภทสินค้าหมุนเวียนกันไปอย่างต่อเนื่อง หรือการจัดกิจกรรมทางการตลาดที่ค่อนข้างถี่มากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลตรุษจีน และวันวาเลนไทน์ที่คาดว่าจะเป็นกิจกรรมที่น่าจะสามารถกระตุ้นให้ยอดขายและบรรยากาศการจับจ่ายมีความคึกคักมากขึ้นได้

ย้อนกลับ:::

 

 

 

 

           

ที่มา : มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 1946 

           วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2550

          บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด

 

หน้าหลัก    แนะนำสถาบัน    การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย    ข้อมูลรายสินค้า   แผนผังเว็บไซต์    ติดต่อสถาบัน    สำหรับเจ้าหน้าที่

 

สถาบันยุทธศาสตร์การค้า

อาคาร 20 ชั้น 5 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  ถนนวิภาวดีรังสิต  ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 02-692-3162-3 โทรสาร 02-692-3161

E-mail: [email protected]  

 Last updated: 05-Feb-2008.