Institute of Trade Strategies (สถาบันยุทธศาสตร์การค้า)

หอการค้าไทย

 

หน้าหลัก แนะนำสถาบัน

ความร่วมมือระหว่างประเทศ

การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย

บทความ ข้อมูลรายสินค้า
 
 

ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดย ดร. สุเมธ  ตันติเวชกุล

สรุปหลักแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียง

 
Trade Mission
ราชอาณาจักรบาห์เรน
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
รัฐสุลต่านโอมาน

ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย

วัฒนธรรมชาวอาหรับ

Do's and DON'Ts in Arabian Society

The Smiling Military Intervention

 

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

 

 

.

     หอการค้าและสมาคมการค้า

หอการค้าไทย
หอการค้าจังหวัด
หอการค้าต่างประเทศในไทย
หอการค้าทั่วโลก
สมาคมการค้า

     หน่วยงานราชการ

กระทรวง
องศ์กรอิสระ

   สถาบันการเงิน

 

ธนาคาร

    สถาบันการลงทุน

สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน BOI

   สื่อสิ่งพิมพ์

หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร

   สื่อออกอากาศ

สถานีโทรทัศน์
สถานีวิทยุ

ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค
ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์
ศูนย์ประชุมนานาชาติ BITEC

   เว็บไซต์อื่น ๆ

เอแบคโพลล์
สวนดุสิดโพลล์
     หอการค้าไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
     มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย    
     ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
    

     Thailand  development  Research  Institute (TDRI)

     มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย
     สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
     สำนักงานสถิติแห่งชาติ
     สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (สคพ.) หรือ International Institute for Trade and Development (ITD)
     World Trade Orgainzition (WTO)
     International Trade Centre (UNCTAD/WTO)
     United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD)

52 ธุรกิจปีกุน : ต้องเร่งปรับตัว...รับเศรษฐกิจพอเพียง

 

     

       ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้ประเมินแนวโน้มภาวะธุรกิจอุตสาหกรรม 52 ประเภทในปี 2550 โดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตัวแปรที่สำคัญในการเลือกธุรกิจที่จะนำมาศึกษาวิจัยและกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อประกอบการพิจารณาว่าจะจัดกลุ่มธุรกิจนั้นเข้าอยู่ในกลุ่มใด ซึ่งตัวแปรหลักสำคัญที่จะใช้ในการประเมินสภาพธุรกิจสำหรับปี 2550 มีหลักเกณฑ์และแนวทางการจัดกลุ่มธุรกิจ ดังนี้
หลักเกณฑ์การเลือกธุรกิจเพื่อการศึกษาวิจัย ประกอบด้วย
     1. เป็นธุรกิจที่มีบทบาทสำคัญต่อการส่งออกและสร้างรายได้ให้ประเทศ
     2. เป็นธุรกิจที่มีศักยภาพการเติบโตต่อเนื่องไปในอนาคต
     3. เป็นธุรกิจที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยโดยรวม
     4. เป็นธุรกิจที่กำลังอยู่ในความสนใจของนักลงทุน และของประชาชน
     5. เป็นธุรกิจที่มีข้อมูลด้านต่างๆมากเพียงพอที่จะนำมาวิเคราะห์-วิจัย
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการจัดกลุ่มธุรกิจในส่วนนี้ได้กำหนดตัวแปรหลักสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณาไว้ 4 ด้านด้วยกัน ครอบคลุมด้านการผลิต ด้านการตลาด(การขาย) ด้านการพัฒนาและด้านที่เกี่ยวกับปัญหาต่างๆที่ธุรกิจนั้นๆเผชิญอยู่ โดยในแต่ละด้านจะมีตัวแปรประกอบการพิจารณาในรายละเอียดครอบคลุมประเด็นหลักสำคัญ ดังต่อไปนี้
     ด้านการผลิต ประกอบด้วยตัวแปร กำลังการผลิต การใช้อัตรากำลังการผลิต อัตราการขยายตัวของกาผลิต-การจำหน่าย ความพร้อมด้านวัตถุดิบ การพึ่งพาวัตถุดิบจากในประเทศและ/หรือจากต่างประเทศ คุณภาพวัตถุดิบ และราคาวัตถุดิบรวมทั้งต้นทุน-คุณภาพของแรงงาน และจำนวนผู้ประกอบการธุรกิจ
      ด้านการตลาด(การขาย) ประกอบด้วยตัวแปรต่อไปนี้
1.1) ตลาดในประเทศ ได้แก่ ยอดขาย อัตราการเติบโตของยอดขาย และสถานการณ์การแข่งขันในแต่ละช่วงเวลา
1.2) ตลาดต่างประเทศ ได้แก่มูลค่าการส่งออก อัตราการเติบโตของมูลค่าการส่งออกและส่วนแบ่งในตลาดสำคัญ เปรียบเทียบกับคู่แข่งในแต่ละช่วงเวลา
      ด้านการพัฒนา ประกอบด้วย คุณภาพสินค้า รูปแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ โอกาสในการสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง โอกาสการขยายตัวของการผลิตและการขายในอนาคต รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการตลาด
     ด้านปัญหาธุรกิจ ประกอบด้วย นโยบาย/มาตรการภาครัฐทั้งในประเทศและต่างประเทศ การกีดกันทางการค้า การเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจในประเทศ เศรษฐกิจโลก เศราฐกิจประเทศคู่ค้า สถานการณ์ด้านการเงิน/สินเชื่อ การขยายเครือข่ายธุรกิจ โอกาสและอุปสรรคต่อการเข้ามาของธุรกิจรายใหม่    รวมตลอดถึงจุดอ่อน-จุดแข็งภายในของธุรกิจนั้นๆ
โดยผลการประเมินภาวะธุรกิจในปี 2550 ปรากฎดังนี้
 
 
ภาวะอุตสาหกรรมปี 2550
ประเภทธุรกิจ
คะแนนที่ได้จากการประเมิน
กลุ่มที่ 1 : ธุรกิจที่มีแนวโน้มเติบโต
1) ธุรกิจสปาหรู
3.800
2) รถยนต์และชิ้นส่วน
3.750
3) อินเทอร์เน็ต
3.710
4) เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์
3.705
5) สินค้าไอที
3.700
6) ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
3.700
7) นมและผลิตภัณฑ์
3.700
8) โรงพยาบาลเอกชน
3.700
9) นมถั่วเหลือง
3.700
กลุ่มที่ 2 : ธุรกิจที่อยู่ในภาวะทรงตัว
1) ธุรกิจก่อสร้าง
3.525
2) สิ่งปรุงรสอาหาร
3.500
3) ธุรกิจทัวร์เอาท์บาวด์
3.500
4) อาหารสัตว์เลี้ยงสำเร็จรูป
3.500
5) ธุรกิจรับปลูกสร้างที่อยู่อาศัย
3.475
6) เยื่อกระดาษ
3.450
7) ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์
3.400
8) ข้าว
3.400
9) น้ำผัก-ผลไม้
3.400
10) ธุรกิจโรงแรมระดับ 4-5 ดาว
3.325
11) อาคารชุดพักอาศัย
3.320
12) ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง
3.300
13) อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป
3.300
14) รถจักรยานยนต์และชิ้นส่วน
3.290
15) ปูนซีเมนต์
3.250
16) ธุรกิจทัวร์อินบาวด์
3.250
17) โรงภาพยนตร์
3.250
18) ผลิตภัณฑ์ข้าว
3.200
19) ธุรกิจทัวร์ทางน้ำ
3.200
20) อ้อยและน้ำตาล
3.180
21) บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
3.150
22) ธุรกิจบ้านจัดสรร
3.150
23) อัญมณีและเครื่องประดับ
3.138
24) ยางพารา
3.100
25) ปิโตรเคมี
3.100
26) ธุรกิจโฆษณา
3.000
27) โทรศัพท์เคลื่อนที่
3.000
28) ผลิตภัณฑ์เซรามิก
2.960
29) ผลิตภัณฑ์พลาสติก
2.890
30) ของเด็กเล่น
2.863
31) เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน
2.825
32) ธุรกิจสนามกอล์ฟ
2.813
33) กุ้งและผลิตภัณฑ์
2.800
34) ธุรกิจเซอร์วิสอพารต์เมนท์
2.800
35) ธุรกิจค้าปลีก
2.775
36) เครื่องใช้บนโต๊ะอาหารและในครัว เครื่องประดับตกแต่งบ้าน
2.750
37) ผลิตภัณฑ์ยาง
2.700
38) เครื่องใช้ไฟฟ้า
2.475
กลุ่มที่ 3 : ธุรกิจพึงระวัง
1) เสื้อผ้าสำเร็จรูป
2.300
2) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
2.300
3) ผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง
2.300
4) ไก่แปรรูป 
2.200
5) สถานีบริการน้ำมัน
2.150
    ที่มา : บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด
 
     --------------------------------------
รายงานวิจัยฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ทั่วไป โดยจัดทำขึ้นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ แต่บริษัทฯ มิอาจรับรองความถูกต้องหรือความสมบูรณ์เพื่อใช้ในทางการค้าหรือประโยชน์อื่นใด บริษัทฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงข้อมูลได้ตลอดเวลาตามสถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งนี้ผู้อ่านจะพึงพิจารณาข้อมูลต่างๆ ด้วยวิจารณญาณของตนเอง โดยบริษัทฯ ไม่ต้องรับผิดต่อผู้ใช้หรือบุคคลในความเสียหายใดจากการใช้ข้อมูลดังกล่าว ดังนั้น ข้อมูลในรายงานฉบับนี้จึงไม่ถือว่าเป็นคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจ

ย้อนกลับ:::

 

 

 

 

           

ที่มา : มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 1946 

           วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2550

          บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด

 

หน้าหลัก    แนะนำสถาบัน    การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย    ข้อมูลรายสินค้า   แผนผังเว็บไซต์    ติดต่อสถาบัน    สำหรับเจ้าหน้าที่

 

สถาบันยุทธศาสตร์การค้า

อาคาร 20 ชั้น 5 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  ถนนวิภาวดีรังสิต  ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 02-692-3162-3 โทรสาร 02-692-3161

E-mail: [email protected]  

 Last updated: 05-Feb-2008.