Institute of Trade Strategies (สถาบันยุทธศาสตร์การค้า)

หอการค้าไทย

 

หน้าหลัก แนะนำสถาบัน

ความร่วมมือระหว่างประเทศ

การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย

บทความ ข้อมูลรายสินค้า
 
 

ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดย ดร. สุเมธ  ตันติเวชกุล

สรุปหลักแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียง

 
Trade Mission
ราชอาณาจักรบาห์เรน
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
รัฐสุลต่านโอมาน

ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย

วัฒนธรรมชาวอาหรับ

Do's and DON'Ts in Arabian Society

The Smiling Military Intervention

 

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

 

 

.

     หอการค้าและสมาคมการค้า

หอการค้าไทย
หอการค้าจังหวัด
หอการค้าต่างประเทศในไทย
หอการค้าทั่วโลก
สมาคมการค้า

     หน่วยงานราชการ

กระทรวง
องศ์กรอิสระ

   สถาบันการเงิน

 

ธนาคาร

    สถาบันการลงทุน

สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน BOI

   สื่อสิ่งพิมพ์

หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร

   สื่อออกอากาศ

สถานีโทรทัศน์
สถานีวิทยุ

ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค
ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์
ศูนย์ประชุมนานาชาติ BITEC

   เว็บไซต์อื่น ๆ

เอแบคโพลล์
สวนดุสิดโพลล์
     หอการค้าไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
     มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย    
     ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
    

     Thailand  development  Research  Institute (TDRI)

     มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย
     สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
     สำนักงานสถิติแห่งชาติ
     สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (สคพ.) หรือ International Institute for Trade and Development (ITD)
     World Trade Orgainzition (WTO)
     International Trade Centre (UNCTAD/WTO)
     United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD)

ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2550 .. ปรับลดจากแนวโน้มการชะลอตัวของการลงทุน

 

     

          ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้ปรับลดประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยสำหรับปี 2550 นี้ลงเป็นร้อยละ 3.5-4.5 จากประมาณการเดิมที่ร้อยละ 4.0-5.0 โดยเป็นผลหลักมาจากแนวโน้มการชะลอตัวของการลงทุนในประเทศ ที่ถูกกระทบโดยปัญหาความไม่แน่นอนทางการเมือง รวมทั้งประเด็นที่เกี่ยวกับกฎหมายประกอบธุรกิจคนต่างด้าว ในขณะที่การส่งออกของไทยก็มีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลงจากปัจจัยต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาวะเศรษฐกิจโลก การแข็งค่าของเงินบาท ตลอดจนการเปรียบเทียบกับฐานที่สูงในปี 2549 อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจไทยน่าจะยังคงได้รับแรงหนุนจากแนวโน้มการอ่อนตัวของอัตราเงินเฟ้อในประเทศ ตามภาวะราคาน้ำมัน รวมทั้งจากแนวโน้มการปรับลดอัตราดอกเบี้ยในระบบ ที่นำโดยการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารแห่งประเทศไทย 

           ทั้งนี้ แม้ว่าการชะลอตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2550 อาจจะเป็นการชะลอตัวชั่วคราวในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในประเทศ ในขณะที่ความเชื่อมั่นของนักลงทุนน่าจะกลับคืนมาหลังจากที่เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้คลี่คลายลงไปแล้วก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากการร่างรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งสามารถดำเนินการได้ตามกำหนด  แต่ประเด็นสำคัญทางเศรษฐกิจมหภาคประเด็นหนึ่งที่ต้องติดตามในปี 2550 นี้ก็คือแนวโน้มการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศ ที่อาจจะเพิ่มสูงขึ้นกว่าปี 2549 ที่ผ่านมา อันเป็นผลเนื่องมาจากการนำเข้าที่อาจจะยังคงไม่ขยายตัวเพิ่มขึ้นได้มากนัก โดยการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดดังกล่าว อาจจะส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้น รวมทั้งอาจจุดชนวนการเก็งกำไรค่าเงินบาทขึ้นมาอีก   อย่างไรก็ตาม การเกินดุลบัญชีเดินสะพัด เมื่อประกอบกับแนวโน้มการอ่อนตัวของภาวะเงินเฟ้อในประเทศ น่าที่จะทำให้ธนาคารแห่งประเทศไทย สามารถที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงได้มากพอสมควร ซึ่งค่าผลต่างอัตราดอกเบี้ยในและต่างประเทศที่เปลี่ยนไปตามการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของทางการไทยนั้น อาจจะช่วยชะลอการแข็งค่าของเงินบาทได้ ในขณะที่การปรับลดอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวก็น่าที่จะเป็นผลดีต่อภาวะการใช้จ่ายในประเทศและการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยรวม  

ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2550

 

 

 

2550

 

 

หน่วย: % y-o-y, หรือระบุเป็นอย่างอื่น

2549

ประมาณ

 

ประมาณการใหม่

 

 

การเดิม

กรณีเลวร้าย

กรณีฐาน

กรณีที่ดี

GDP

5.0

4.0-5.0

3.5

4.0

4.5

การบริโภคภาคเอกชน

3.4

3.5-4.5

3.0

3.5

4.0

การลงทุนรวม

3.9

3.7-5.3

1.1

1.8

2.5

     เอกชน

4.5

5.4-6.0

1.7

2.3

2.8

     รัฐ

2.1

 -1.5 ถึง +3.2

-0.6

0.4

1.4

การส่งออก

17.4

 10.0-15.0

10.0

11.0

12.0

การนำเข้า

7.0

10.0-15.0

7.0

8.5

10.0

ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ฯ)

3.2

0.4 ถึง 1.9

7.3

6.7

6.1

ดุลบัญชีเดินสะพัด (% ต่อ GDP)

1.6

0.2 ถึง 0.8

3.1

2.8

2.6

ราคาน้ำมันดิบเบรนท์เฉลี่ย (ดอลลาร์ฯ)

65.1

55.0-60.0

57.0

55.0

53.0

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline CPI)

4.7

2.5-3.5

2.5

2.0

1.5

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core CPI)

2.3

1.8-2.3

2.0

1.5

1.0

อัตราดอกเบี้ย Repo-1 Day  (ณ สิ้นปี)

4.95

4.00

4.50

4.00

3.50

ย้อนกลับ:::

 

 

 

 

           

ที่มา : มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 1938 

           วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2550

          บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด

 

หน้าหลัก    แนะนำสถาบัน    การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย    ข้อมูลรายสินค้า   แผนผังเว็บไซต์    ติดต่อสถาบัน    สำหรับเจ้าหน้าที่

 

สถาบันยุทธศาสตร์การค้า

อาคาร 20 ชั้น 5 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  ถนนวิภาวดีรังสิต  ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 02-692-3162-3 โทรสาร 02-692-3161

E-mail: [email protected]  

 Last updated: 05-Feb-2008.