Institute of Trade Strategies (สถาบันยุทธศาสตร์การค้า)

หอการค้าไทย

 

หน้าหลัก แนะนำสถาบัน

ความร่วมมือระหว่างประเทศ

การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย

บทความ ข้อมูลรายสินค้า
 
 

ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดย ดร. สุเมธ  ตันติเวชกุล

สรุปหลักแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียง

 
Trade Mission
ราชอาณาจักรบาห์เรน
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
รัฐสุลต่านโอมาน

ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย

วัฒนธรรมชาวอาหรับ

Do's and DON'Ts in Arabian Society

The Smiling Military Intervention

 

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

 

 

.

     หอการค้าและสมาคมการค้า

หอการค้าไทย
หอการค้าจังหวัด
หอการค้าต่างประเทศในไทย
หอการค้าทั่วโลก
สมาคมการค้า

     หน่วยงานราชการ

กระทรวง
องศ์กรอิสระ

   สถาบันการเงิน

 

ธนาคาร

    สถาบันการลงทุน

สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน BOI

   สื่อสิ่งพิมพ์

หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร

   สื่อออกอากาศ

สถานีโทรทัศน์
สถานีวิทยุ

ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค
ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์
ศูนย์ประชุมนานาชาติ BITEC

   เว็บไซต์อื่น ๆ

เอแบคโพลล์
สวนดุสิดโพลล์
     หอการค้าไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
     มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย    
     ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
    

     Thailand  development  Research  Institute (TDRI)

     มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย
     สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
     สำนักงานสถิติแห่งชาติ
     สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (สคพ.) หรือ International Institute for Trade and Development (ITD)
     World Trade Orgainzition (WTO)
     International Trade Centre (UNCTAD/WTO)
     United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD)

เหตุวินาศกรรม 31 ธ.ค. 49. ... ผลในเชิงลบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2550

 

 

       แม้ว่าตลาดหุ้นไทยและค่าเงินบาทจะได้อ่อนตัวลงตอบสนองต่อเหตุวินาศกรรมที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครในวันที่ 31 ธ.ค. 49 ที่ผ่านมา แต่ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ณ ขณะนี้ ยังคงประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2550 ไว้ที่ร้อยละ 4.0-5.0 เทียบกับที่ขยายตัวร้อยละ 5.0 ในปี 2549 แต่ก็มีความโน้มเอียงไปในเชิงลบ (Negative Bias) ต่อการบริโภค และการลงทุนในประเทศ อันเป็นผลมาจากความไม่แน่นอนทางการเมืองที่เพิ่มขึ้นจากเหตุวินาศกรรมดังกล่าว โดยระดับของผลกระทบที่จะมีต่อภาวะการใช้จ่ายในประเทศนั้น ย่อมจะขึ้นอยู่กับความคืบหน้าในการดำเนินการสอบสวนและจับกุมผู้กระทำความผิดของทางการ รวมทั้งความนิ่งของเหตุการณ์ทางการเมืองในประเทศ อย่างไรก็ตาม อาจจะกล่าวได้ว่า ธุรกิจที่น่าจะได้รับผลกระทบโดยตรงจากภาวะความไม่เชื่อมั่นดังกล่าวคงได้แก่ ธุรกิจเพื่อการบริโภคต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณศูนย์การค้าและใกล้เคียง ในขณะที่จำนวนนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศที่อาจถูกกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าวนั้น ก็ย่อมจะส่งผลโดยตรงต่อธุรกิจโรงแรม รวมทั้งต่อธุรกิจอื่น ๆ ที่พึ่งฐานลูกค้าต่างชาติ เช่น ธุรกิจบริการทางการแพทย์ รวมทั้งโครงการอสังหาริมทรัพย์ ทั้งที่เป็นโครงการที่อยู่อาศัยระดับสูงและโครงการนิคมอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกัน สถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองและเศรษฐกิจในประเทศที่เพิ่มขึ้น ก็อาจจะส่งผลให้นักลงทุนต่างชาติรอดูท่าทีอยู่ภายนอกประเทศ แทนที่จะกลับเข้ามาลงทุนในตลาดทุนไทยแม้ว่าราคาหลักทรัพย์ในตลาดจะได้ปรับตัวลดลงมาแล้วก็ตาม ซึ่งการลดน้ำหนักการลงทุนดังกล่าวของต่างชาติย่อมจะส่งผลกระทบต่อปริมาณธุรกรรมและสภาพคล่องของตลาดโดยรวม และอาจทำให้ตลาดทุนไทยต้องใช้เวลานานกว่าที่คาดไว้เดิมในการที่จะฟื้นตัว ซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบในเชิงลบต่อความมั่งคั่ง (Wealth Effect) ของผู้บริโภคที่เป็นนักลงทุนรายย่อยในตลาดฯแล้ว ยังอาจเป็นอุปสรรคแก่ธุรกิจไทย ที่ในปี 2550 นี้มีแผนที่จะระดมทุนผ่านตลาดทุน  ไม่ว่าจะเป็นตลาดหุ้นหรือตลาดตราสารหนี้  

ประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย

 

 
หน่วย: % y-o-y, หรือระบุเป็นอย่างอื่น

2549

2550

2551

2552

GDP

5.0

4.0-5.0

5.0-6.0

4.5-5.5

การบริโภคภาคเอกชน

3.4

3.5-4.5

5.0-6.0

4.5-5.5

การลงทุนรวม

3.9

3.7-5.3

11.0-13.1

9.7

     เอกชน

4.5

5.4-6.0

9.5-10.8

7.9

     รัฐ

2.1

 -1.5 ถึง +3.2

15.8-21.0

15.6

การส่งออก

17.5

 10.0-15.0

7.0-10.0

7.0-10.0

การนำเข้า

7.2

 10.0-15.0

7.0-10.0

7.0-10.0

ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ฯ)

 +2.5 ถึง +2.9

 0.4 ถึง 1.9

 -0.4 ถึง +0.6

 -0.5 ถึง -1.0

ดุลบัญชีเดินสะพัด (% ต่อ GDP)

1.2 ถึง 1.4

  0.2 ถึง 0.8

 -0.1 ถึง +0.2

 -0.2 ถึง -0.4

ราคาน้ำมันดิบเบรนท์เฉลี่ย (ดอลลาร์ฯ)

65.0

55.0-60.0

57.0-62.0

60.0-65.0

ค่าเงินบาท (เฉลี่ย)

37.90

36.50

36.00

36.00

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline CPI)

4.6

2.5-3.5

3.0-3.5

3.0-3.5

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core CPI)

2.3

1.8-2.3

3.0-3.5

3.0-3.5

 

ย้อนกลับ:::

 

 

 

 

           

ที่มา : มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 1922 

           วันที่ 3 มกราคม 2550

          บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด

 

หน้าหลัก    แนะนำสถาบัน    การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย    ข้อมูลรายสินค้า   แผนผังเว็บไซต์    ติดต่อสถาบัน    สำหรับเจ้าหน้าที่

 

สถาบันยุทธศาสตร์การค้า

อาคาร 20 ชั้น 5 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  ถนนวิภาวดีรังสิต  ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 02-692-3162-3 โทรสาร 02-692-3161

E-mail: [email protected]  

 Last updated: 05-Feb-2008.