Institute of Trade Strategies (สถาบันยุทธศาสตร์การค้า)

หอการค้าไทย

 

หน้าหลัก แนะนำสถาบัน

งานเสวนาระดมสมอง

การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย

บทความ ข้อมูลรายสินค้า
 
.

ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดย ดร. สุเมธ  ตันติเวชกุล

สรุปหลักแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียง

 
Trade Mission
ราชอาณาจักรบาห์เรน
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
รัฐสุลต่านโอมาน

ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย

วัฒนธรรมชาวอาหรับ

Do's and DON'Ts in Arabian Society

The Smiling Military Intervention

 

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

 

 

.

     หอการค้าและสมาคมการค้า

หอการค้าไทย
หอการค้าจังหวัด
หอการค้าต่างประเทศในไทย
หอการค้าทั่วโลก
สมาคมการค้า

     หน่วยงานราชการ

กระทรวง
องศ์กรอิสระ

   สถาบันการเงิน

ธนาคาร

    สถาบันการลงทุน

สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน BOI

   สื่อสิ่งพิมพ์

หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร

   สื่อออกอากาศ

สถานีโทรทัศน์
สถานีวิทยุ

ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค
ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์
ศูนย์ประชุมนานาชาติ BITEC

   เว็บไซต์อื่น ๆ

เอแบคโพลล์
สวนดุสิดโพลล์
     หอการค้าไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
     มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
     ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
     ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

     Thailand  development  Research  Institute (TDRI)

     มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย
     สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
     สำนักงานสถิติแห่งชาติ
     สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (สคพ.) หรือ International Institute for Trade and Development (ITD)
     World Trade Orgainzition (WTO)
     International Trade Centre (UNCTAD/WTO)
     United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD)

 

 การศึกษายุทธศาสตร์

 

การศึกษายุทธศาสตร์การค้าชายแดนและการค้าผ่านแดน

กับประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง

     
 

 

1. ความสำคัญของการค้าชายแดน

          การค้าของไทยในทศวรรษที่ผ่านมา มุ่งไปที่ตลาดสำคัญเพียงไม่กี่แห่ง ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ในปัจจุบันมีแนวโน้มชัดเจนว่าประเทศใกล้เคียงของประเทศไทยได้เปลี่ยนระบบการค้าเป็นการค้าเสรีมากขึ้น มีกำลังซื้อจากประชาชนมากขึ้น ได้แก่ กัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสหภาพเมียนม่าร์  รวมทั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนตอนใต้ ซึ่งอยู่ในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง หากประเทศไทยสามารถกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม มุ่งที่จะทำการค้ากับประเทศเหล่านี้ ก็จะเป็นประโยชน์กับเศรษฐกิจของประเทศไทยและประเทศเหล่านั้นด้วย

         ด้วยเล็งเห็นถึงความสำคัญนี้สถาบันยุทธศาสตร์การค้าจึงได้จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญดำเนินการศึกษาเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การค้าชายแดน เพื่อประโยชน์ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องการศึกษาครั้งนี้มีกำหนดเสร็จสิ้นในเดือนกรกฎาคม 2547

2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา

2.1  เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนในช่วง 10 ที่ผ่านมาของประเทศไทยกับกลุ่มประเทศ CLMV โดยเน้นการวิเคราะห์ถึงสาเหตุการขยายตัวของการค้าชายแดน

2.2  เพื่อศึกษาแนวคิดและแนวนโยบายด้านการเมือง แนวนโยบายและข้อตกลงเกี่ยวกับการค้าชายแดนของกลุ่มประเทศ CLMV และประเทศไทยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ศึกษาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนของไทยกับกลุ่มประเทศ CLMV

2.3  เพื่อศึกษาอุปสรรคต่อการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนของประเทศไทย เช่นนโยบาย กฎหมาย และกฎระเบียบที่มีผลต่อการจำกัดการค้า โดยเฉพาะสินค้าที่สำคัญที่เป็นผลประโยชน์ของไทย รวมทั้งการให้สิทธิพิเศษทางภาษี (GSP) แก่ประเทศในกลุ่ม CLMV รวมทั้งข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง

2.4  เพื่อให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การค้า ทั้งด้านสินค้าและบริการ และนำเสนอแนวทางที่จะสามารถเพิ่มพูนศักยภาพในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย กับประเทศในกลุ่มประเทศ CLMV ภายใต้ข้อจำกัดด้านการเมือง โดยแยกประเด็นข้อเสนอแนะเป็น 3 ด้าน ได้แก่

(1)   ทบทวนและประเมินแนวคิดหลักหรือยุทธศาสตร์การค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนในอดีตและปัจจุบันของรัฐบาลไทยและรัฐบาลในกลุ่ม CLMV ประเด็นการประเมินคือ แนวคิดและยุทธศาสตร์ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ยุทธศาสตร์ของแต่ละประเทศมีความสอดคล้องหรือขัดแย้งกันอย่างไร นโยบายต่างๆ ของรัฐบาลไทยที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนมีความสอดคล้องหรือขัดแย้งกันอย่างไร

(2)   เมื่อประเทศต่างๆ ใน CLMV ในกลุ่ม CLMV นำยุทธศาสตร์และนโยบายการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนมาปฏิบัติก่อให้เกิดผลดีต่อการค้าและความเป็นอยู่ของประชากรในบริเวณชายแดนอย่างไร และมีจุดอ่อนอย่างไร

(3)   ข้อเสนอแนะยุทธศาสตร์การค้าของไทยโดยเสนอเป็นยุทธศาสตร์ทางเลือกอย่างน้อยสองยุทธศาสตร์ พร้อมทั้งประเมินความเป็นไปได้ของยุทธศาสตร์

2.5  เพื่อให้เกิดผลต่อการขยายปริมาณการค้าระหว่างประเทศ (ทั้งด้านการส่งออกและการนำเข้า) ในกลุ่มประเทศ CLMV ทั้งในระยะสั้น  และเกิดการขยายตัวของการค้าอย่างยั่งยืนในระยะกลางและระยะยาว

 

 
     
 

    หน้าหลัก    แนะนำสถาบัน    การศึกษายุทธศาสตร์และผลงานวิจัย    ข้อมูลรายสินค้า

 แผนผังเว็บไซต์    ติดต่อสถาบัน     สำหรับเจ้าหน้าที่


สถาบันยุทธศาสตร์การค้า

อาคาร 20 ชั้น 5 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  ถนนวิภาวดีรังสิต  ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์ 02-692-3162-3 โทรสาร 02-692-3161

E-mail: [email protected]  

 Last updated: 04-Aug-2008.